วันอังคารที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2564

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน

 1. แผนที่หมู่บ้าน



 

2. ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน

          แต่เดิมเรียกหมู่บ้านแห่งนี้ว่า เมิรบาว เป็นภาษาท้องถิ่น  ซึ่งเป็นชื่อต้นไม้ต้นหนึ่งมีขนาดใหญ่มาก      เรียกชื่อตามภาษาไทยว่า ต้นหลุมพอ ต้นไม้ต้นต้นนี้มีอายุ  ๒๐๐  ปีต้นใหญ่มาก  ชาวบ้านสมัยนั้นได้ค้นพบบริเวณริมคลอง  ด้วยลักษณะที่ลำต้นจมอยู่ในดิน  ซึ่งต้นไม้ดังกล่าวได้ล่มเมื่อ  ๒๐๐  ปีที่แล้ว  แต่พึ่งมาพบ    เมื่อร้อยปีนี้เอง

          เรื่องพบต้นไม้ยักษ์นี้ได้แพร่กระจายไปทั่ว  และได้ไปปรึกษาโต๊ะครูรอซาลี  ซึ่งเป็นโต๊ะครูที่เคารพ       ในสมัยนั้น  โต๊ะครูได้เสนอให้ชาวบ้านขุดต้นเมิรบาว  เพื่อสร้างสะพานเชื่อมภายในหมู่บ้านเมิรบาว              ไปยังหมู่บ้านมูโนะและซ่อมแซมมัสยิดภายในหมู่บ้านจนเสร็จ  เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่ต้นเมิรบาว  ชาวบ้าน         จึงพากันตั้งชื่อหมู่บ้านแห่งนี้ว่า  บ้านเมิรบาว  ปัจจุบันเพี้ยนเป็น บ้านมือบา  ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา

3. พื้นที่ทั้งหมด ไร่  หรือ  ๑๒  ตารางกิโลเมตร

    พิกัด GPS  ละติจูด  :  ๖.๐๗๖๙๔๐๖๗๗๕๓๗๘๓  ลองจิจูด  :  ๑๐๒.๐๐๙๑๒๓๔๘๙๒๖๐๖๗ 

4. อาณาเขต

          หมู่ที่    ตั้งอยู่ในตำบลปาเสมัส  อำเภอสุไหงโก-ลก  จังหวัดนราธิวาส ห่างจากอำเภอสุไหงโก-ลก         ไปทางทิศตะวันตก    กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดนราธิวาส  ไปทางทิศเหนือ  ๕๘  กิโลเมตร                       มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้

         ทิศเหนือ          ติดต่อกับ         หมู่ที่    ตำบลปูโยะ  และหมู่ที่    ตำบลมูโนะ

          ทิศใต้             ติดต่อกับ         หมู่ที่ ๗  บ้านกวาลอซีรา  ตำบลปาเสมัส

          ทิศตะวันออก    ติดต่อกับ         แม่น้ำสุไหงโก-ลก 

          ทิศตะวันตก      ติดต่อกับ         ป่าพรุโต๊ะแดง  (ป่าพรุโต๊ะแดง)

5. ลักษณะภูมิประเทศ
         
ภูมิอากาศ

                   มี    ฤดู  คือ ฤดูฝน   และฤดูร้อน

                    -  ฤดูฝน  มี    ระยะ  คือระยะรับลมมรสุมตะวันออกเฉียงได้ ในระหว่างเดือนพฤษภาคม            ถึงเดือนตุลาคมของทุกปีเป็นช่วงเกิดภาวะฝนฟ้าคะนอง และระยะรับลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ              ฝนจะตกชุก       ในเดือน  พฤศจิกายนถึงเดือน  มกราคม  เป็นช่วงที่ทำให้เกิดภาวะน้ำท่วมในพื้นที่ราบและราบลุ่มเป็นประจำทุกปี

                   -   ฤดูร้อน อยู่ระหว่าง เดือนกุมภาพันธ์ - เดือนเมษายน

          ภูมิประเทศ

                   -  พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบและราบลุ่ม

          จำนวนประชากร   รวมทั้งสิ้น  ๑,๙๑๕  คน แยกเป็น  ชาย   ๙๘๑       คน  หญิง   ๙๓๔      คน

                    ผู้สูงอายุ (อายุ ๖๐ ปี บริบูรณ์ขึ้นไป )  รวมทั้งสิ้น  ๑๕๔    คน

                             แยกเป็น ชาย  ๖๑  คน  หญิง  ๙๓  คน

                   คนพิการ  รวมทั้งสิ้น  ๔๖  คน  แยกเป็น  ชาย  ๒๖  คน     หญิง  ๒๐  คน

          จำนวนครัวเรือน  ๓๗๖  ครัวเรือน 

          การประกอบอาชีพ

                   อาชีพหลักของครัวเรือน

                -  อาชีพรับจ้างทั่วไป                                   จำนวน  ๑๒๙    ครัวเรือน

          -  อาชีพทำสวนยางพารา                               จำนวน    ๗๓    ครัวเรือน

                    -  อาชีพค้าขาย                                          จำนวน    ๑๙    ครัวเรือน

                    -  อาชีพทำงานประจำ/รับราชการ                    จำนวน     ๑๔   ครัวเรือน

          อาชีพเสริมหรืออาชีพรอง

          -  อาชีพปลูกผัก                                        จำนวน     ๘๐   ครัวเรือน

                    -  อาชีพเลี้ยงสัตว์                                       จำนวน     ๒๕   ครัวเรือน

                    -  อาชีพทำขนม  เพื่อการจำหน่าย                    จำนวน     ๑๘   ครัวเรือน

                   -  อาชีพรับจ้างปักจักร/ตัดเย็บเสื้อผ้า                 จำนวน     ๑๐   ครัวเรือน

          ผู้ว่างงาน  จำนวน  ๑๔๗  คน   แยกเป็น

                    -  กลุ่มอายุ  ๑๓-๑๘  ปี                               จำนวน  ๑๕      คน

          -  กลุ่มอายุ  ๑๙-๒๔  ปี                               จำนวน  ๓๕      คน

          -  กลุ่มอายุ    ๒๕     ปี ขึ้นไป                        จำนวน  ๙๗      คน

          จำนวนกลุ่มกิจกรรม / อาชีพ     มีจำนวน    กลุ่ม  ดังนี้

                   -  กลุ่มทำซาลาเปา        จำนวนสมาชิก   ๑๖       คน

                   -  กลุ่มเกษตรกร           จำนวน                     คน

                   -  กลุ่มทำกระเป๋า         จำนวน                     คน     

          กองทุนในหมู่บ้าน   มีจำนวน   กองทุน  ดังนี้

                    -  ชื่อกองทุนหมู่บ้าน  หมู่ที่    บ้านมือบา   มีงบประมาณ  ๑,๐๐๐,๐๐๐  บาท

                    -  ชื่อกองทุน  โครงการเพิ่มความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานรากตามแนวทางประชารัฐ            มีงบประมาณ  ๕๐๐,๐๐๐  บาท

                    -  ชื่อกองทุนแม่ของแผ่นดิน  มีงบประมาณ  ๙,๐๐๐  บาท

          ข้อมูลความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานของประชาชน
     
              -  ชื่อกิจกรรม/อาชีพทำขนม                           จำนวน  ๑๕  คน

                    -  ชื่อกิจกรรม/อาชีพตัดเย็บเสื้อผ้า                     จำนวน  ๑๐  คน

          ข้อมูลคมนาคม/สาธารณูปโภค

                   

 

 

การเดินทางเข้าหมู่บ้าน 

                   การเดินทางสามารถสัญจรด้วยรถยนต์และรถจักรยานยนต์  มาตามทางหลวงเส้นสุไหงโก-ลก - ตากใบ  เลี้ยวซ้ายจากต้นซอยถึงหมู่บ้าน  มีระยะห่างจากที่ว่าการอำเภอสุไหงโก-ลก    กิโลเมตร             ห่างจากสำนักงานเทศบาลตำบลปาเสมัส    กิโลเมตร

                    สาธารณูปโภค

                   -  มีไฟฟ้าครบทุกครัวเรือน

                   -  ประปาหมู่บ้าน

                   -  ศาลาประชาคม        

                   แหล่งน้ำตามธรรมชาติ

                   -  แม่น้ำสุไหงโก-ลก

                   -  คลองชลประทาน

                    แหล่งน้ำที่สร้างขึ้นในหมู่บ้าน

                   -  บ่อน้ำตื้น               

                   -  บ่อบาดาล

                   -  บ่อน้ำสาธารณะ

ข้อมูลพื้นฐานด้านการศึกษาและสถานศึกษาในหมู่บ้าน 

                   - โรงเรียนในสังกัดสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)  ชื่อโรงเรียนบ้านมือบา  ที่ตั้ง       หมู่ที่  ๔ บ้านมือบา  ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโก-ลก  จังหวัดนราธิวาส  มีจำนวน    แห่ง

                   ระดับอนุบาล  รวมทั้งสิ้น  ๓๓  คน แยกเป็น  ชาย  ๑๓  คน           หญิง  ๒๐  คน                              ระดับประถมศึกษา  รวมทั้งสิ้น  ๑๓๔  คน แยกเป็น  ชาย  ๗๘  คน    หญิง  ๕๖  คน 

                   ครูและบุคลากร  รวมทั้งสิ้น  ๑๙  คน

                   -  ข้าราชการ              ๑๑      คน

                   -  พนักงานราชการ                คน

                   -  วิทยากร                         คน

                   -  ธุรการ                           คน

                   -  ครูพี่เลี้ยง                        คน

                   -  ภารโรง                          คน

                   -  รปภ.                            คน

        ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา)

          ตาดีกา/ศูนย์เรียนรู้ประจำชุมชน/หมู่บ้าน  จำนวน    แห่ง

          ชื่อโรงเรียนตาดีกาอีดายาตุดดีนียะห์  ที่ตั้ง  หมู่ที่ ๔  บ้านมือบา  ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโก-ลกจังหวัดนราธิวาส  มีนักเรียนทั้งหมด  ๑๐๓  คน

          แยกเป็นนักเรียนชาย  ๕๕  คน    นักเรียนหญิง  ๔๘  คน

6. ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้านตาม จปฐ. และ กชช.2ค.

สรุปผลการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน ปี 2562 ระดับหมู่บ้าน   

หมู่ที่บ้านมือบา ตำบลปาเสมัส  อำเภอสุไหงโก-ลก  จังหวัดนราธิวาส  ภาคใต้  ประเทศไทย

ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน

จำนวนที่สำรวจ

ผ่านเกณฑ์

ไม่ผ่านเกณฑ์

จำนวน

ร้อยละ

จำนวน

ร้อยละ

หมวดที่ 1 สุขภาพ มี 7 ตัวชี้วัด

1. เด็กแรกเกิดมีน้ำหนัก 2,500 กรัม ขึ้นไป

0  คน

0 คน

0.00

0 คน

0.00

2. เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน

0  คน

0 คน

0.00

0 คน

0.00

3. เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

60  คน

60 คน

100.00

0 คน

0.00

4. ครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย และได้มาตรฐาน

306  คร.

306 คร.

100.00

0 คร.

0.00

5. ครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบำบัด บรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม

306  คร.

306 คร.

100.00

0 คร.

0.00

6. คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี

543  คน

543 คน

100.00

0 คน

0.00

7. คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที

814  คน

814 คน

100.00

0 คน

0.00

หมวดที่ 2 สภาพแวดล้อม มี 7 ตัวชี้วัด

8. ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร

306  คร.

306 คร.

100.00

0 คร.

0.00

9. ครัวเรือนมีน้ำสะอาดสำหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดปีอย่างน้อยคนละ 5 ลิตรต่อวัน

306  คร.

306 คร.

100.00

0 คร.

0.00

10. ครัวเรือนมีน้ำใช้เพียงพอตลอดปี อย่างน้อยคนละ 45 ลิตรต่อวัน

306  คร.

306 คร.

100.00

0 คร.

0.00

11. ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือนเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาดและถูกสุขลักษณะ

306  คร.

306 คร.

100.00

0 คร.

0.00

12. ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ

306  คร.

306 คร.

100.00

0 คร.

0.00

13. ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยและภัยธรรมชาติอย่างถูกวิธี

306  คร.

306 คร.

100.00

0 คร.

0.00

14. ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

306  คร.

306 คร.

100.00

0 คร.

0.00

หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด

15. เด็กอายุ 3 - 5 ปี ได้รับบริการเลี้ยงดูเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน

12  คน

12 คน

100.00

0 คน

0.00

16. เด็กอายุ 6 -14 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี

64  คน

64 คน

100.00

0 คน

0.00

17. เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรียนต่อชั้น ม.4 หรือเทียบเท่า

0  คน

0 คน

0.00

0 คน

0.00

18. คนในครัวเรือนที่จบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทำ ได้รับการฝึกอบรมด้านอาชีพ

6  คน

6 คน

100.00

0 คน

0.00

19. คนอายุ 15 - 59 ปี อ่าน เขียนภาษาไทย และคิดเลขอย่างง่ายได้

589  คน

589 คน

100.00

0 คน

0.00

หมวดที่ 4 การมีงานทำและรายได้ มี 4 ตัวชี้วัด

 

20. คนอายุ 15 – 59 ปี มีอาชีพและรายได้

517  คน

517 คน

100.00

0 คน

0.00

21. คนอายุ 60 ปีขึ้นไป มีอาชีพและรายได้

161  คน

161 คน

100.00

0 คน

0.00

22. รายได้เฉลี่ยของคนในครัวเรือนต่อปี

306  คร.

301 คร.

98.37

5 คร.

1.63

23. ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน

306  คร.

306 คร.

100.00

0 คร.

0.00

หมวดที่ 5 ค่านิยม มี 8 ตัวชี้วัด

827  คน

827 คน

100.00

0 คน

0.00

24. คนในครัวเรือนไม่ดื่มสุรา

827  คน

742 คน

89.72

85 คน

10.28

25. คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่

814  คน

814 คน

100.00

0 คน

0.00

26. คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

161  คน

161 คน

100.00

0 คน

0.00

27. ผู้สูงอายุ ได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐหรือภาคเอกชน

1  คน

1 คน

100.00

0 คน

0.00

28. ผู้พิการ ได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐหรือภาคเอกชน

48  คน

48 คน

100.00

0 คน

0.00

29. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐหรือภาคเอกชน

306  คร.

306 คร.

100.00

0 คร.

0.00

30. ครัวเรือนมีส่วนร่วมทำกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชน หรือท้องถิ่น

306  คร.

306 คร.

100.00

0 คร.

0.00

31. ครอบครัวมีความอบอุ่น

0  คน

0 คน

0.00

0 คน

0.00


สรุปผลสภาพปัญหาของหมู่บ้าน กชช. 2ค. ปี 2562                                

หมู่ที่ 4 บ้านมือบา ตำบลปาเสมัส   อำเภอสุไหงโก-ลก   จังหวัดนราธิวาส

ตัวชี้วัด

คะแนน

โครงสร้างพื้นฐาน

(1) ถนน

2

(2) น้ำดื่ม

3

(3) น้ำใช้

3

(4) น้ำเพื่อการเกษตร

3

(5) ไฟฟ้า

3

(6) การมีที่ดินทำกิน

3

(7) การติดต่อสื่อสาร

2

สภาพพื้นฐานฐานทางเศรษฐกิจ

(8) การมีงานทำ

3

(9) การทำงานในสถานประกอบการ

0

(10) ผลผลิตจากการทำนา

0

(11) ผลผลิตจากการทำไร่

0

(12) ผลผลิตจากการทำการเกษตรอื่นๆ

0

(13) การประกอบอุตสาหกรรมในครัวเรือน

0

(14) การได้รับประโยชน์จากการมีสถานที่ท่องเที่ยว

0

ด้านสุขภาวะและอนามัย

(15) ความปลอดภัยในการทำงาน

3

(16) การป้องกันโรคติดต่อ

3

(17) การกีฬา

2

ด้านความรู้และการศึกษา

(18) ระดับการศึกษาของประชาชน

3

(19) อัตราการเรียนต่อของประชาชน

1

(20) การได้รับการศึกษา

3

ด้านการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของชุมชน

(21) การมีส่วนร่วมของชุมชน

1

(22) การรวมกลุ่มของชุมชน

1

(23) การเข้าถึงแหล่งเงินทุน

3

(24) การเรียนรู้โดยชุมชน

2

(25) การได้รับความคุ้มครองทางสังคม

3

ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

(26) คุณภาพดิน

3

(27) การใช้ประโยชน์ที่ดิน

0

(28) คุณภาพน้ำ

0

(29) การปลูกป่าหรือไม้ยืนต้น

0

(30) การจัดการสภาพสิ่งแวดล้อม

3

ด้านความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ

(31) ความปลอดภัยจากยาเสพติด

2

(32) ความปลอดภัยจากภัยพิบัติ

1

(33) ความปลอดภัยจากความเสี่ยงในชุมชน

3

สรุปสภาพปัญหาของหมู่บ้าน                                                           

(1) มีปัญหามาก                 4     ข้อ  

(2) มีปัญหาปานกลาง         5     ข้อ

(3) มีปัญหาน้อย               15    ข้อ

                                                                                          

หมู่บ้าน/ชุมชนนี้ จัดเป็น หมู่บ้าน/ชุมชนเร่งรัดพัฒนาอันดับ 3                      

(อันดับ 1 ได้ 1 คะแนน 11-33 ตัวชี้วัด)                                             

(อันดับ 2 ได้ 1 คะแนน 6-10 ตัวชี้วัด)                                               

(อันดับ 3 ได้ 1 คะแนน 0-5 ตัวชี้วัด)                                                 

 


ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน

  1. แผนที่หมู่บ้าน   2. ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน           แต่เดิมเรียกหมู่บ้านแ...